Creation

Case Study

คอนเทนต์ไม่เป็นกลาง ให้ความคิดเห็น แบบนี้ผิดหรือเปล่า? เอาจริง ๆ เป็นคำถามที่ตอบกันมาตั้งแต่ช่วงแรก ๆ หลังจากที่เราทุกคนสามารถทำสื่อได้ รวมถึงสามารถที่จะสื่อสารชุดของข้อมูลและความคิดออกไปได้อย่างอย่างรวดเร็วผ่านอินเทอร์เน็ต ก่อนหน้านี้เราเคยนำเสนอบทความเรื่อง จากการวิเคราะห์เชิงภาษาศาสตร์ตั้งแต่ 1989 พบว่าข่าวทุกวันนี้มีความเป็นอัตวิสัยมากขึ้น ซึ่งอัตวิสัยก็คือการที่เราใส่ความคิด ความรู้สึก ของตัวเราเองเข้าไปในข่าว หรือมีการใช้คำที่วัดเชิงปริมาณไม่ได้ เช่น ดี เลว เยอะ มาก น้อย แต่จริง ๆ แล้ว สิ่งเหล่านี้อาจจะไม่ผิดเลยก็ได้ ถ้าเรารู้จักกับสิ่งที่เรียกว่า Evidence-based

Avatar

Nutn0n March 12, 2020

Tips

เชื่อว่าคนทำคอนเทนต์หลาย ๆ คนอาจจะเคยมี Moment ที่ว่า เบื่อ, ไม่รู้ทำไปเพื่ออะไร หรืออยู่ในภาวะเขียนคอนเทนต์ให้มีลงไปวัน ๆ ซึ่งภาวะแบบนี้ไม่ได้เป็นผลดีเลย เพราะจำให้เราทำงานไปส่ง ๆ เท่านั้น เราอาจจะคิดว่าภาวะนี้เกิดจากการขี้เกียจ หรือเบื่อ หรือหมด Passion อะไรก็ว่าไป แต่จริง ๆ แล้วถ้าเรามาลองนึกดูเราอาจจะพบว่าปัญหานี้เกิดจาก เรากำลังสับสนว่าเรากำลังทำเพื่ออะไรอยู่ 

Avatar

Nutn0n September 9, 2019

Social

เป็นเวลานานหลายเดือนพอสมควรแล้วหลังจากที่ Instagram ได้เปิดตัวฟีเจอร์ใหม่คือ IGTV เป็น Platform Video ให้ Publisher สามารถสร้างคอนเทนต์วิดีโอ “แนวตั้ง” ความยาวเท่ากับวิดีโอทั่ว ๆ ไปมาลงได้ ซึ่งก็เหมือนกับว่า IGTV กำลังจะเป็นแพลตฟอร์มวิดีโอแห่งอนาคตที่ Facebook วาดฝันไว้ แต่กลายเป็นว่าทุกวันนี้ IGTV กลับเต็มไปด้วยคอนเทนต์ที่ถูกดัดแปลงมาจากวิดีโอที่ไม่ได้ทำมาเพื่อ IGTV แต่เอามาปรับแต่งเพื่อ reupload บน IGTV เฉย ๆ

Avatar

Nutn0n January 11, 2019

Social

สาเหตุหนึ่งที่ผู้เขียนมาเริ่มทำ Spaceth.co ส่วนหนึ่งมาจากความรู้สึกที่ว่า ทำไมข่าววิทยาศาสตร์มันมีความไกลตัว โดยเฉพาะเรื่องราวเกี่ยวกับงานวิจัยต่าง ๆ ซึ่งปกติแล้วถ้าไม่มาจาก Journal หรือจากสำนักข่าวก็จะไม่มีแหล่งอื่นเลย และภาษาที่สำนักข่าวและ Journal ใช้ก็จะบอกแค่ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร ผลเป็นอย่างไร ซึ่งถ้าดูตามหลักการเขียนข่าว มันก็พอจะบอกอะไรหลาย ๆ อย่างได้อยู่ แต่สิ่งที่ขาดไปอย่างนึงที่แทบจะเป็นสิ่งสำคัญที่สุดเลยก็คือ แล้วข่าวนั้น ให้คุณค่าอะไรกับผู้อ่าน หรือเกี่ยวข้องกับตัวผู้อ่านอย่างไร

Avatar

Nutn0n January 3, 2019

Social

ไม่นานมานี้ ผู้เขียนได้ไปเจอ Infographic ของ American Council of Science and Health ที่ทำแผนภาพลำดับเว็บข่าววิทยาศาสตร์ที่ดีและแย่ที่สุด ซึ่งพอพูดแบบนี้แล้ว เราก็จะเกิดคำถามว่า นิยามของคำว่าดีหรือแย่ มันอยู่ที่ตรงไหน เขียนแล้วคนชอบ ? เขียนเข้าใจง่าย ? ซึ่งทาง ACSH ก็ได้ให้ความสำคัญกับสิ่งที่เรียกว่า compelling หรือ การดึงดูด จับใจ กับอีกอย่างนึงที่ผู้เขียนนึกไม่ถึงตอนแรก สิ่งนั้นคือ Evidence-based Reporting คือการให้เหตุผล การมีหลักฐาน สนับสนุน ซึ่งมันคือพื้นฐานของงานเขียนด้านวิทยาศาสตร์เลย

Avatar

Nutn0n January 2, 2019

Case Study

เวลาผู้เขียนเจอคำถามว่า ทำคอนเทนต์แบบนี้ดีไหม ทำวิดีโอความยาวเท่านี้ดีไหม หรือทำยังไงให้บทความออกมาดีกว่าของคู่แข่ง คำตอบที่ผู้เขียนตอบไปก็คือ “แล้วเราอยากให้คนที่มาดูคอนเทนต์ของเราได้รับอะไรล่ะ”

Avatar

Nutn0n August 21, 2018

Copyright © 2024 RAiNMaker. All rights reserved.

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save